Orthopedic Specialist Clinic

เกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นมากกว่า 40 องศาเซลเซียส ร่างกายไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิภายในร่างกายได้ เกิดจากการที่ร่างกายได้รับความร้อนมากเกินไป สาเหตุเนื่องจากร่างกายเราถูกแสงแดดมากเกินไป หรืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่อากาศร้อนอบอ้าว เมื่อเกิดอาการควรได้รับการรักษาในทันที เพราะอาจส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อหัวใจ สมอง ไต และกล้ามเนื้อ

Qdenga® (TAK-003) เป็นวัคซีนป้องกันไข้เลือดออกตัวใหม่ ซึ่งเป็นวัคซีนชนิดเชื้อเป็นที่ทำให้อ่อนฤทธิ์ ผลิตโดยใช้เทคโนโลยีนำชิ้นส่วนของไวรัสเดงกี่ทั้ง 4 สายพันธุ์ มาใส่ในแกนของไวรัสเดงกี่เอง วัคซีนนี้จะออกฤทธิ์โดยเชื้อไวรัสที่อ่อนฤทธิ์ไปแบ่งตัวและกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสเดงกี่ที่ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออก

เกณฑ์การวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน กระดูกสันหลังหรือกระดูกสะโพกหักจากอุบัติเหตุไม่รุนแรง มีค่า T-score น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.5 ที่กระดูกสะโพก เอว หรือ ข้อมือมีค่า T-score ระหว่าง -1 และ -2.5 ร่วมกับความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกสะโพกหักในช่วงเวลา 10 ปี ซึ่งประเมินโดย Fracture Risk Assessment Tool ( FRAX) ของประเทศไทยมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 3 มีค่า T-score ระหว่าง -1 และ -2.5 ร่วมกับ มีกระดูกหักตำแหน่ง ต้นแขน ปลายแขน หรือเชิงกรานจากอุบัติเหตุไม่รุนแรงหมายเหตุต้องตรวจด้วยเครื่อง central dual energy x ray absorptiometry (DXA) มาตรฐานเท่านั้นอุบัติเหตุไม่รุนแรงหมายถึง กระดูกหักที่เกิดจากการตกจากระดับความสูงที่ไม่เกินความสูงของผู้ป่วย

เนื่องจากความเสื่อม และความชราเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสุขภาพ จะดีกว่าไหม ถ้าเราสามารถชะลอวัย หรือชะลอความเสื่อมด้วยการเติม NAD เข้าสู่ร่างกายโดยตรงผ่านทางหลอดเลือดดำได้โดยตรง ซึ่งถือว่าเป็นวิธีที่สามารถบำรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ฟื้นฟูระบบต่างๆ ของร่างกาย ส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน รวมถึงสุขภาพในภาพรวมด้วย

การฉีดสเตียรอยด์นั้นสามารถบรรเทาอาการปวดหลังหรือปวดร้าวลงขาได้ โดยจะเป็นการฉีดเข้าโพรงประสาทในผู้ป่วยที่เป็นหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อมหรือเส้นประสาทถูกกดทับ ซึ่งจะได้ผลดีมากในผู้ป่วยที่มีอาการปวดระยะ 1-3 เดือน

กระดูกพรุน เป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อม หรือบางลงของกระดูก เนื่องจากสูญเสียแคลเซียม ส่งผลให้กระดูกเปราะ หรือหักได้ง่าย โดยทั่วไป มักเข้าใจว่าเกิดกับผู้หญิงเท่านั้น แต่ความจริงแล้ว ผู้ชายก็เป็นโรคนี้ได้เช่นกัน

ภาวะกระดูกสันหลังยุบจากโรคกระดูกพรุนส่วนใหญ่มักเกิดในผู้สูงอายุเพศหญิง อายุ 60 ปีขึ้นไป

MRC บริการฟื้นฟูดูแลสุขภาพแบบมืออาชีพ

ฝังเข็มแบบ DryNeedling หรือ การฝังเข็มแบบตะวันตก หรือ การลงเข็มคลายกล้ามเนื้อ

เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ที่ผ่านมา คุณหมอธนาแห่ง MRC ได้รับเชิญไปบรรยายในงาน TOSSM 2023 หรือ งานประชุมอนุสาขาเวชาศาตร์การกีฬา

MRC Medical Revitalized Center มุ่งสร้างสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพใจ เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข

แนวทางการรักษาโรคเส้นเอ็นไหล่อักเสบเบื้องต้น พร้อมข้อดีข้อเสียของการรักษา

ถ้าไม่อยากให้เส้นเอ็นไหล่อักเสบ โปรดหลีกเลี่ยง

สาเหตุที่จะทำให้เกิดโรคเส้นเอ็นข้อเท้าอักเสบ Tibialis Posterior เพื่อหลีกเลี่ยงการกระทำที่อาจนำไปสู่การเป็นโรคเส้นเอ็นข้อเท้าอักเสบ Tibialis Posterior

เมื่อมีอาการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้องกับกระดูกหรือข้อ มักเลือกไปพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหรือนักกายภาพบำบัด ซึ่งสองวิชาชีพนี้มีความชำนาญในวิชาชีพที่แตกต่างกัน

“ท่าเล่นโทรศัพท์แบบผิดๆ” สร้างอาการปวดและเมื่อยล้าตามกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อเช่นกัน หากปล่อยทิ้งไว้นาน ไม่แก้ไขหรือเปลี่ยนพฤติกรรม อาจส่งผลรุนแรงได้

ใครที่กำลังมองหาที่ทำกายภาพบำบัดดี ๆ มีครบครันทั้งอุปกรณ์ที่ทันสมัยและผู้เชี่ยวชาญด้านการทำกายภาพบำบัด ติดต่อ คลินิกเฉพาะทางกระดูกและข้อ MRC ได้เลย

MRC มีบริการฟื้นฟูและกายภาพบำบัดหลังผ่าตัด ผ่าตัดส่วนไหนหรือมีอาการผิดปกติอะไรมาเราก็เอาอยู่

หากคุณมีอาการเหล่านี้ คุณมีโอกาสสูงที่จะเป็นโรคเส้นเลือดในสมองตีบ อย่าได้ชะล่าใจไป รีบปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อทำการรักษา

"เกาต์" เป็นโรคยอดฮิตที่เกิดขึ้นได้กับคนหลายช่วงวัย โดยมีสาเหตุหลักจากการที่ร่างกายผลิตกรดยูริคมากเกินไป หรือไตขับกรดยูริคได้น้อยเกินไป ทำให้เกิดอาการบวมแดงตามข้อต่อต่างๆ ตามร่างกาย

เสียงก๊อกแก๊กอาจเป็นเสียงที่เกิดขึ้นได้ทั่วไปหลังงอเข่าติดต่อกันเป็นเวลานานโดยไม่มีอาการปวดร่วมด้วย

กลุ่มคนที่ใช้มือทำงานบ่อย ๆ ซ้ำ ๆ เช่น คุณแม่ที่ต้องอุ้มลูกต่อเนื่องเป็นเวลานาน กลุ่มคนทำงานคอมพิวเตอร์ คนที่ชอบเล่นเกมส์ หรือ โทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน นักกีฬา ที่ต้องใช้ข้อมือเป็นหลัก นักกีฬาแบดมินตัน, ปิงปอง ,วอลเลย์บอล เป็นต้น

ศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ MRC จัดโปรพิเศษ "แพ็กเกจฉีดน้ำเลี้ยงข้อเข่า 3 เข็ม ราคา 9,900 บาท" ตั้งแต่วันนี้ - 30 ก.ย. 2566

วันนี้ MRC ขอแนะนำแนวทางการรักษาโรคเส้นเอ็นไหล่อักเสบเบื้องต้น พร้อมข้อดีข้อเสียของการรักษามาฝากเพื่อนๆได้เลือกการรักษาที่เหมาะสมกับตัวเองได้เลยค่ะ โดยวิธีการรักษามีดังนี้

โดยปกติแล้วเป็นคนชอบเล่นกีฬาเป็นประจำ โดยเฉพาะการวิ่งมาราธอนและแบดมินตัน   เลือกใส่รองเท้าที่เหมาะสมกับกีฬานั้น ๆ โดยเฉพาะ แต่สุดท้ายก็หลีกเลี่ยงอาการบาดเจ็บไม่ได้

อีกทางเลือกเพื่อรักษาอาการปวด โดยไม่ต้องผ่าตัด รักษาด้วยการฝังเข็มแบบตะวันตก ร่วมกับศาสตร์การแพทย์แผนจีน โดยนายแพทย์ปืนไทย เทพมณฑา ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้